บันทึกความรู้/บทความ/ตกผลึกความรู้

แนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน pdf.pdf

Cr.สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

รวมเล่มโครงงาน ผศ.ดร.ปริญญา-ฬิฏา.pdf
ex.pjbl.pdf
แผนแม่บท mindmap.pdf

Cr.ติดตามได้ที่ plants.rbru.ac.th/ 

พื้นที่นวัตกรรมการศึกษากับข้อมูลขับเคลื่อนเชิงพื้นที่
เพื่อให้ง่ายต่อการค้นคว้า ศึกษา สพฐ. จึงดำเนินการรวมรวบจัดเป็นทำเป็นหนังสือ “พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 อนุบัญญัติ และหนังสือที่เกี่ยวข้อง” สามารถ Download ได้เลยที่https://www.edusandbox.com/secondary-legislation



คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาของ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

คำสั่ง เเต่งตั้งนวัตกรรม สพฐ.pdf
2.ประกาศหลักเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางก - Copy.pdf
1.ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพกา - Copy.pdf
การวัดและประเมินด้านทักษะการคิดขั้นสูง 2567 (2).pdf
การพัฒนาศักยภาพด้านการวัดและประเมินผลใน AFL.pdf

  Cr.จัดทำโดยสำนักการศึกษา กทม 2567

2566_รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาระบบและกลไกการพัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญาของผู้เรียน.pdf
สพฐ. 2564 - ก้าวแรกการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning).pdf

  Cr.ขอบคุณแหล่งข้อมูลจาก สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.)

รายงานการศึกษาและผลการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ 2567.pdf
2558_รายงานผล (Constructionism) ของสถานศึกษา.pdf



what CBR is  ผศ.พิเศษ กาญจนา ทองทั่ว  

what_CBR_is อ.กาญจนา.pdf

  การบูรณาการเรียนการสอนในรายวิชาการวิจัยและนวัตกรรมการเรียนรู้และวิชาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 พบว่า
การถอดบทเรียนร่วมกัน (AAR) โดยใช้สุยโมเดล

        1.เป็นการบูรณาการเรียนการสอนได้ทุกระดับ ตั้งแต่ชั้นอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ได้อย่างแท้จริง เนื่องจากกลุ่มครูผู้สอนและผู้เรียนเข้าใจในวิธีการสอนแบบ Project-Based Leaning, Problem Based Learning, Design-Based Learningทำให้ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์พัฒนาชิ้นงานได้ดีและสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สุยโมเดลได้ ในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้

           2.ได้ชิ้นงานที่สามารถนำมาแก้ไขปัญหาในบริบทชุมชนของโรงเรียนได้ และบ่งชี้ความเป็นอัตลักษณ์ของโรงเรียนได้อย่างชัดเจน

          3.เป็นการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนไม่ยุ่งยาก (สร้าง เสาะ สุขสนุก สำเร็จ) =สุย

           4.สามารถขยายผลให้ครูเข้าใจการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการบูรณาการเรียนการสอนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้หลากหลาย
  5.ตอบแนวทางการพัฒนาคนให้มีคุณภาพในศตวรรษที่ 21 คือ ด้านปัญญา ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาวิชา  ด้านทักษะการคิด ผู้เรียนออกแบบการคิดด้วยตนเอง สืบค้นข้อมูล แยกแยะ การคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์  และด้านคุณลักษณะผู้เรียนมีทักษะการทำงานกลุ่ม 

Book_ICH_THAI_Online การจัดการเรียนรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม.pdf

  สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2567). แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม สำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : Intangible Cultural Heritage into Classroom. กรุงเทพฯ : สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.

  เอกสารนี้ปรับปรุงจากหนังสือ Bringing living heritage to the Classroom in Asia-Pacific a resource (2020) จัดทำโดย UNESCO, ICHACAP และ APCEIU

รูปแบบการเรียนการสอนในรายวิชาการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาในยุคดิจิตอลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ : ผลงานของนักศึกษาปริญญาโท สาขาบริหารการศึกษาที่ตั้งใจเก็บข้อมูลและออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการนำบริบทของชุมชนท้องถิ่น เป็นฐานในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับพื้นที่ในครั้งนี้ วัตถุประสงค์หลักเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลการเรียนการสอนและการออกแบบกิจกรรมสอดรับกับนโยบาย พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ระยอง จันทบุรี ตราด และสามารถนำความรู้จากการลงพื้นที่มาออกแบบกิจกรรมในชั้นเรียนได้

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องกระวานจันท์.pdf
รายงานกลุ่ม -แผนการเรียนรู้ อร่อยสงาด เที่.pdf
แผนเสื่อจันทบูร แผนการเรียนรู้ เรื่อง พวงกุญ.pdf
แผนการอนุรักษ์หัตถกรรมพื้นบ้าน (งอบน้ำเชี่ยว.pdf
แผนโครงสร้างรายวิชาผ้าตากะหมุก อัตลักษณ์พื้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม ผ้า.pdf
คำอธิบายรายวิชาและแผนการจัดการเรียนรู้_ท่าแฉลบ.pdf

      "ไม่รู้ไม่ได้แล้ว...คำสำคัญที่ต้องรู้ 
      BCG, Active Learning (เข้าใจภาพ เข้าใจขยายความ)

6 หนังสือคู่มือเครื่องมือลงพื้นที่.pdf

     อ้างอิง: ชิษนุวัฒน์ มณีศรีขำและคณะ. 20 เครื่องมือการวิจัยในงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น. สกสว.

บทสังเคราะห์ ผศ.ดร.ฬิฏา สมบูรณ์_update.pdf

    การสังเคราะห์บทความในการบริการวิชาการในชุมชนทอเสื่อบ้านท่าแฉลบ ในปี 2565 ในการสร้างสรรค์ลายเสื่อกก "รำไพจันทบูร" สู่การแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย วิสาหกิจชุมชนบ้านท่าแฉลบ ตำบลบางกะจะ จังหวัดจันทบุรี 

อ้างอิง: ฬิฏา สมบูรณ์,ชุตาภา คุณสุข,ทารินทร์ ปิ่นทองและ ณิชชากัญญ์ วงษ์จีนเพ็ชร. (2565). การสร้างสรรค์ลายเสื่อกก "รำไพจันทบูร" สู่การแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายวิสาหกิจชุมชนบ้านท่าแฉลบ ตำบลบางกะจะ จังหวัดจันทบุรี. มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

2. แผนด้านการอุดมศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2566-2570.pdf
เพาะพันธ์ปัญญา.pdf